โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

Search
Close this search box.

เกร็ดความรู้คู่สุขภาพ

รู้จัก เข้าใจ และพร้อมรับมือการกลายพันธุ์ของไวรัสโคโรนา2019

แม้ในช่วงเวลาที่ผ่านมาการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 จะมีแนวโน้มที่ดีขึ้นจากการกระจายวัคซีนไปยังสถานที่ต่างๆ แต่อย่างไรก็ตามในวงการการแพทย์ยังคงต้องติดตามสถานการณ์อย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะอย่างยิ่งการกลายพันธุ์ของไวรัสโคโรนา 2019

ทำไมหายจากโรคโควิด-19 แต่อาการป่วยยังอยู่

ตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2563 หลังจากโรคโควิด-19 ระบาด และมีการพบว่าผู้ที่หายป่วยบางรายไม่สามารถใช้ชีวิตอย่างเดิมประเด็นดังกล่าวจึงเป็นเรื่องที่เริ่มมีการให้ความสำคัญในการศึกษาเกี่ยวกับอาการโควิดระยะยาว (Long COVID หรือ Long Hauler)

ข้อเท็จจริงน่ารู้เกี่ยวกับพลาสมารักษาผู้ป่วยโรคโควิด-19

การรักษาผู้ป่วยด้วยพลาสมาจากผู้ป่วยที่หายจากโรคโควดิ -19 แล้วยังได้ผลอยู่หรือไม่ ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะมาไขข้อข้องใจเกี่ยวกับพลาสมารักษาผู้ป่วยโรคโควิด-19 

การรักษาผู้ป่วยโควิด-19 ด้วยการนอนคว่ำ ช่วยทำให้อาการดีขึ้นได้อย่างไร ?

นับตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมาที่มีการระบาดของโรคโควิด-19 มีข้อมูลข่าวสารที่ถูกส่งต่อผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์อย่างมากเกี่ยวกับการรักษาผู้ป่วยโรคโควิด-19 ด้วยการนอนคว่ำ

เหตุใด ผู้ป่วยมะเร็งบริเวณช่องปาก ศีรษะ และลำคอ ต้องมาพบทันตแพทย์ก่อนฉายรังสี

การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็ง บริเวณช่องปาก ศีรษะ และลำคอ ต้องได้รับการตรวจรักษาจากแพทย์สหสาขาวิชาชีพ (Multidisciplinary Team)

มะเร็งเต้านม รู้เร็ว รักษาเร็ว หายขาดได้

มะเร็งเต้านม หากพบเร็ว และได้รับรักษาที่ถูกวิธี มีโอกาสหายสูงถึง 90%

ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงเว็บไซต์