โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

Search
Close this search box.

งานบริการเจาะเลือด

Blood Draw Service

มุ่งมั่นสู่การเป็นผู้นำทางการพยาบาลในระดับสากล

ผู้รับบริการทั่วไป

 

ศูนย์/ฝ่าย ผู้ป่วยที่รับบริจาคเจาะเลือด สถานที่ วันทำการ เวลาทำการ
ศูนย์จัดเก็บสิ่งส่งตรวจ อายุไม่เกิน 10 ปี อาคาร ภปร ชั้น 11 จันทร์ – ศุกร์ *07.30 – 16.00 น.*
อายุ 10 ปีขึ้นไป อาคาร ภปร ชั้น 6 จันทร์ – ศุกร์ 06.30 – 15.30 น.
อายุ 10 ปีขึ้นไป อาคาร สธ ชั้น 3 จันทร์ – ศุกร์ *06.30 – 15.30 น.*
อายุ 10 ปีขึ้นไป อาคาร จักรีทศมฯ ชั้น 1 จันทร์ – ศุกร์ 06.30 – 15.30 น.
ห้องปฏิบัติการฝ่ายเวชศาสตร์ชันสูตร อาคาร ภปร ชั้น 6 จันทร์ – ศุกร์ 06.30 – 16.00 น.
* หยุดพักกลางวัน 12.00 – 13.00 น.*

 

 

ผู้รับบริการคลินิกระบบบริการพิเศษและคลินิกพิเศษนอกเวลาราชการ

 

ศูนย์/ฝ่าย สถานที่ วันทำการ เวลาทำการ
ศูนย์จัดเก็บสิ่งส่งตรวจ อาคารนวัตบริบาล ชั้น 1 จันทร์ – ศุกร์ 06.30 – 16.00 น.
อาคาร ภปร ชั้น 6 จันทร์ – ศุกร์ 16.00 – 20.00 น.
เสาร์ – อาทิตย์ 06.30 – 12.00 น.
อาคาร จักรีทศมฯ ชั้น 1 จันทร์ – ศุกร์ 16.00 – 20.00 น.
เสาร์ – อาทิตย์ 06.30 – 12.00 น.
ห้องปฏิบัติการฝ่ายเวชศาสตร์ชันสูตร อาคาร ภปร ชั้น 6 จันทร์ – ศุกร์ 16.00 – 20.00 น.
เสาร์ – อาทิตย์ 06.30 – 12.00 น.

 

ชื่อฝ่าย/ศูนย์

ฝ่ายเวชศาสตร์ชันสูตร (อาคารรัตนวิทยาพัฒน์ ชั้น 5)

 

หน่วยงาน เบอร์โทรศัพท์
งานธุรการ 02 256 4136 และ 02 256 4000 ต่อ 60570, 60575-6
งานตรวจวิเคราะห์ผู้ป่วยนอก (ภปร ชั้น 6) 02 256 5378, 02 256 5387 และ 02 256 5381
งานตรวจวิเคราะห์ผู้ป่วยใน (ภมส ชั้น 3) 02 256 80324-5
งานตรวจวิเคราะห์ ณ จุดดูแลผู้ป่วย (POCT) (ภมส ชั้น 3) 02 256 4000 ต่อ 80321-2 (ในเวลาราชการ)
02 256 4000 ต่อ 80324-5 (นอกเวลาราชการ)
E-mail : poccchula@gmail.com
Line official: @kcmh_poct
ศูนย์จัดเก็บสิ่งส่งตรวจ อาคาร ภปร ชั้น 6 โทร 02 256 5382-3

อาคาร ภปร ชั้น 11 โทร 02 256 5246

อาคาร สธ ชั้น 3 โทร 02 256 4000 ต่อ 70301

อาคาร นวัตบริบาล ชั้น 1 โทร 02 256 5125

เว็บไซต์ ฝ่ายเวชศาสตร์ชันสูตร https://chulalongkornhospital.go.th/kcmh/

ศูนย์จัดเก็บสิ่งส่งตรวจ http://chulalongkornhospital.go.th/specimencenter/

ไปรษณีย์ ฝ่ายเวชศาสตร์ชันสูตร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย อาคารรัตนวิทยาพัฒน์ ชั้น 5 โซน A 1873 ถนนพระรามที่ 4 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

บทความที่เกี่ยวข้อง

รักษาผู้ป่วยโควิด-19 ด้วยพลาสมาของผู้ที่หายป่วยแล้ว ความหวังสำคัญของมนุษยชาติ

เมื่อผู้ป่วยได้รับเชื้อโรคใดๆ มาก็ตาม หลังจากรักษาจนหายป่วยแล้ว ร่างกายของบุคคลนั้นๆ จะสร้างภูมิต้านทานขึ้นมาซึ่งตามหลักการของภูมิต้านทานวิทยาพบว่า ภูมิต้านทานนี้เปรียบเสมือนเซรุ่มที่สามารถนำมาใช้รักษาการติดเชื้อได้เป็นอย่างดี

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ร่วมกิจกรรม “M Care สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย”

บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BEM)  ร่วมกับ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)  โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย และสถาบันการแพทย์ต่างๆ จัดกิจกรรม “M Care สุขภาพดี ชีวีปลอดภัย” เพื่อส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพสำหรับผู้โดยสาร และประชาชนในพื้นที่

รพ.จุฬาลงกรณ์ เปิดตัวคลินิกการได้ยินและการทรงตัวขั้นสูง

กิจกรรมเสวนาภาคประชาชนในหัวข้อ “ปัญหาการได้ยิน-ภัยเงียบที่กำลังคร่าสมองคุณ เตรียมความพร้อมประเทศไทยสำหรับสังคมผู้สูงอายุ ปัญหาการได้ยินความเสี่ยงสูงสุดที่ป้องกันได้ของภาวะสมองเสื่อม”

ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงเว็บไซต์