โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

Search
Close this search box.

โควิด-19 สายพันธุ์เบตา

  • กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข สรุปผลการเฝ้าระวังสายพันธุ์โควิด-19 กลายพันธุ์ในไทย ตั้งแต่วันที่ 3 – 9 กรกฎาคม 2564 พบสายพันธุ์แอลฟา 51.8% สายพันธุ์เดลตา 46.1% และสายพันธุ์เบตา 2.1%
  • โควิด-19 สายพันธุ์เบตา (แอฟริกาใต้) แม้จะทำให้ประสิทธิภาพของวัคซีนลดลงแต่การระบาดในไทยยังอยู่ในวงจำกัด
  • ดังนั้น วัคชีนโควิด-19 ของไทยในขณะนี้ยังมีประสิทธิภาพในการลดความรุนแรงของโรค และอัตราการเสียชีวิตได้
  • การป้องกันการติดเชื้อยังคงสำคัญต่อการแพร่ระบาดของเชื้อสายพันธุ์ใหม่ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาวัคซีน
  • สิ่งสำคัญ คือ แม้ฉีดวัคซีนแล้ว ยังคงต้องใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือ และเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

ที่มา
ศ. พญ.กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ศ. นพ.ยง ภู่วรวรรณ
โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผศ. นพ.กำธร มาลาธรรม
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

ข้อมูล ณ วันที่ 15 กรกฎาคม 2564

ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงเว็บไซต์