โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

Search
Close this search box.

คลินิกติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา

Adverse Drug Reaction (ADR) Monitoring Clinic

มุ่งมั่นสู่การเป็นผู้นำทางการพยาบาลในระดับสากล

พันธกิจ

  1. ผลิตแพทย์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และบัณฑิตวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีความรู้คุณธรรม ใฝ่รู้และมีเจตคติที่ดี
  2. สร้างงานวิจัยและองค์ความรู้ที่มีคุณค่า
  3. ให้บริการทางอายุรกรรมเพื่อติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาที่มีประสิทธิภาพอย่างเสมอภาค
  4. ให้บริการทางวิชาการเพื่อเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับชาติและนานาชาติ
  5. สร้างและพัฒนาเครือข่ายด้านการเรียนการสอน การวิจัย บริการทางวิชาการและบริการทางการแพทย์ในระดับชาติและนานาชาติ

ภารกิจที่หน่วยงานสนับสนุน

  1. การตรวจการแพ้ยาที่สงสัยว่าแพ้
    • Skin Prick Test
    • Patch Test
    • ELISPOT
    • Basophil Activation Test (BAT)
    • Drug Challenge Test
  2. ทำการรักษาโดยวิธีการ desensitization หรือ immunomodulation

อาคาร ภปร ชั้น 5

วันพุธ (สัปดาห์ที่ 1, 3 และ 5) เวลา 08.30 – 12.00 น.

ชื่อคลินิก

คลินิกติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา

 

เบอร์โทรศัพท์หน่วยงาน

02 256 4000 ต่อ 5400

บทความที่เกี่ยวข้อง

นวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ยุค 4.0

นวัตกรรมทางการแพทย์ใหม่ล่าสุดของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ที่กำลังเป็นที่จับตามองในแวดวงสาธารณสุขไทย และประสบความสำเร็จในการช่วยเหลือผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีอาการเฉียบพลันร้ายแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงที

พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ด้านการบริหารระบบกายภาพโรงพยาบาล

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย, โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย, โรงพยาบาลศิริราช และ โรงพยาบาลรามาธิบดี ร่วมลงนามทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ด้านการบริหารระบบกายภาพโรงพยาบาล

คณะพันธมิตรนักวิจัยไทย จากคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมมือกับคณะพันธมิตรนักวิจัยจากทวีปยุโรป เปิดตัว และสาธิตเปิดตัวแว่นเสมือนจริง ตัวช่วยฝึกการทรงตัวผ่านการกระตุ้นหูชั้นใน AR for Vestibular Rehabilitation

แถลงข่าว เปิดตัวแว่นเสมือนจริง ตัวช่วยฝึกการทรงตัวผ่านการกระตุ้นหูชั้นใน AR for Vestibular Rehabilitation และกิจกรรมเสวนาต่างๆ

ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงเว็บไซต์