โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

Search
Close this search box.

หน่วยกายอุปกรณ์

Orthosis and Prosthesis Unit

มุ่งมั่นสู่การเป็นผู้นำทางการพยาบาลในระดับสากล

พันธกิจ

  1. ให้บริการรักษาพยาบาล ฟื้นฟูสมรรถภาพ ป้องกันโรคและสร้างเสริมสุขภาพที่เป็นเลิศด้วยการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และสร้างนวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อช่วยรักษาฟื้นฟูผู้ป่วยอย่างเป็นองค์รวม
  2. สนับสนุนการทำงานวิจัย ฝึกอบรม และบริการวิชาการที่เป็นแหล่งอ้างอิงได้ในระดับสากล

เจตจำนง

เป็นสถาบันต้นแบบทางเวชศาสตร์ฟื้นฟูที่มีคุณธรรม และสร้างมาตรฐานระดับนานาชาติ

ภาระหน้าที่

ผลิตบัณฑิตและแพทย์เฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ที่มีคุณภาพ กอรปด้วยคุณธรรม สร้างงานวิจัยที่มีคุณค่า ให้บริการทางการแพทย์และวิชาการเพื่อชี้นำสังคม

ตึกไนติงเกล ชั้น 1

วันจันทร์-ศุกร์  เวลา 08.00-16.00 น.

รับใบสั่งตั้งแต่เวลา 08.00-11.30 น. (รอบเช้า), 13.00-15.30 น. (รอบบ่าย) และพักเที่ยงเวลา 12.00-13.00 น.

 

 อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์ ชั้น 14

เปิดให้บริการผู้ป่วยใน วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.00-15.30 น.

รับใบสั่งตั้งแต่เวลา 08.00-11.30 น. (รอบเช้า), 13.00-15.30 น. (รอบบ่าย) และพักเที่ยงเวลา 12.00-13.00 น.

 

อาคาร ภปร. ชั้น 4

เปิดให้บริการผู้ป่วยนอก วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 13.00-15.30 น.

รับใบสั่งตั้งแต่เวลา 13.00-15.30 น. (รอบบ่าย) เฉพาะกายอุปกรณ์สำเร็จรูป

ชื่อคลินิก

หน่วยกายอุปกรณ์

 

เบอร์โทรศัพท์หน่วยงาน

02 256 4433

 

เบอร์โทรศัพท์นัดคลินิกนอกเวลา

02 256 5346 , 5348

 

เว็บไซต์หน่วยงาน

https://rehabmed.md.chula.ac.th/contact/

บทความที่เกี่ยวข้อง

นวัตกรรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ยุค 4.0

นวัตกรรมทางการแพทย์ใหม่ล่าสุดของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ที่กำลังเป็นที่จับตามองในแวดวงสาธารณสุขไทย และประสบความสำเร็จในการช่วยเหลือผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีอาการเฉียบพลันร้ายแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงที

ข้อเท็จจริงน่ารู้เกี่ยวกับพลาสมารักษาผู้ป่วยโรคโควิด-19

การรักษาผู้ป่วยด้วยพลาสมาจากผู้ป่วยที่หายจากโรคโควดิ -19 แล้วยังได้ผลอยู่หรือไม่ ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะมาไขข้อข้องใจเกี่ยวกับพลาสมารักษาผู้ป่วยโรคโควิด-19 

คลินิกสุขภาพเพศครบวงจร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

ปัจจุบันกลุ่มคนข้ามเพศมีความจำเป็นต้องเข้ารับบริการทางการแพทย์เพิ่มมากยิ่งขึ้น สังคมไทยให้การยอมรับเรื่องเพศโดยเฉพาะเรื่องความหลากหลายทางเพศมากขึ้น การติดต่อหรือเข้ารับการปรึกษาปัญหาเรื่องเพศเป็นเรื่องเปิดเผยมากขึ้นกว่าในอดีต

ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงเว็บไซต์